Diesel Engine Driven Portable Screw Air Compressors from USA, Sullair has been continuously researching and developing towed screw air compressors since 1965 to provide Resistant to all conditions, easy to use, low maintenance costs. Highest operational reliability Designed to meet all the needs of the industry.
With advanced manufacturing technology, Sullair guarantees the screw assembly for towing air compressors for 5 years or 10,000 hours.
AIR COMPRESSORS SPECIALIST
Industrial compressed air specialist
POWER AIR SYSTEM CO., LTD.
บทความ
แนวทางการลดความสูญเสียพลังงานจากการรั่วของอากาศอัด
สาเหตุของปัญหา
โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ยังไม่ให้ความสำคัญกับปัญหานี้ เพราะยังไม่รู้ถึงมูลค่าความสูญเสียที่เกิดขึ้น เช่น
-
ถ้าโรงงานของท่านใช้เครื่องอัดลมขนาด100แรงม้า (75kw) 1ตัวเดินเครื่อง 24 ช.ม ทำงานปีละ 300 วันค่าไฟฟ้า / เฉลี่ย 3.5 บาท
-
โรงงานจะต้องจ่ายค่าไฟฟ้า = (75*24*360*3.5 ) = 2,268,000 บาท
-
ถ้าโรงานของท่านเกิดลมรั่ว 10 % , ท่านจะต้องจ่ายค่าไฟฟ้าเพิ่มปีละ = 226,800 บาท / ปี
การแก้ไข
-
การรั่วไหลของอากาศอัดมักพบบ่อยที่หน้าแปลนและข้อต่อเกลียว ซึ่งเกิดจากการนำอุปกรณ์ที่ออกแบบมาใช้กับน้ำมาใช้กับลมอัดจึงทำให้เมื่อแก้ไขแล้วปัญหาจะกลับมาเกิดซ้ำอีกไม่สิ้นสุด
-
การแก้ปัญหาที่ถูกต้องจึงต้องเปลี่ยนอุปกรณ์ในระบบท่อส่งลมออกให้ถูกต้องจึงจะแก้ปัญหาได้อย่างถาวร
ความรู้โดย : นาย นิเพท โตวิริยะเวช (รองกรรมการผู้จัดการบริษัท เพาเวอร์ แอร์ ซิสเต็ม จำกัด) , กรรมการสมาคมบริษัทจัดการพลังงานไทย , สมาชิก ESCO เลขที่ A032 รับรองโดย : สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรมสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ติดตามบทความดีๆ ได้ทาง www.powerairsystem.com
แนวทางการลดความสูญเสียพลังงานจากการรั่วของอากาศอัด
สาเหตุของปัญหา
โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ยังไม่ให้ความสำคัญกับปัญหานี้ เพราะยังไม่รู้ถึงมูลค่าความสูญเสียที่เกิดขึ้น เช่น
-
ถ้าโรงงานของท่านใช้เครื่องอัดลมขนาด100แรงม้า (75kw) 1ตัวเดินเครื่อง 24 ช.ม ทำงานปีละ 300 วันค่าไฟฟ้า / เฉลี่ย 3.5 บาท
-
โรงงานจะต้องจ่ายค่าไฟฟ้า = (75*24*360*3.5 ) = 2,268,000 บาท
-
ถ้าโรงานของท่านเกิดลมรั่ว 10 % , ท่านจะต้องจ่ายค่าไฟฟ้าเพิ่มปีละ = 226,800 บาท / ปี
การแก้ไข
-
การรั่วไหลของอากาศอัดมักพบบ่อยที่หน้าแปลนและข้อต่อเกลียว ซึ่งเกิดจากการนำอุปกรณ์ที่ออกแบบมาใช้กับน้ำมาใช้กับลมอัดจึงทำให้เมื่อแก้ไขแล้วปัญหาจะกลับมาเกิดซ้ำอีกไม่สิ้นสุด
-
การแก้ปัญหาที่ถูกต้องจึงต้องเปลี่ยนอุปกรณ์ในระบบท่อส่งลมออกให้ถูกต้องจึงจะแก้ปัญหาได้อย่างถาวร
ความรู้โดย : นาย นิเพท โตวิริยะเวช (รองกรรมการผู้จัดการบริษัท เพาเวอร์ แอร์ ซิสเต็ม จำกัด) , กรรมการสมาคมบริษัทจัดการพลังงานไทย , สมาชิก ESCO เลขที่ A032 รับรองโดย : สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรมสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ติดตามบทความดีๆ ได้ทาง www.powerairsystem.com